วงการแพทย์-วงการยา ข้อมูลสุขภาพ วิธีการดูแลตัวเอง โรคร้าย

  1. วงการแพทย์-วงการยา ข้อมูลสุขภาพ วิธีการดูแลตัวเอง โรคร้าย
  2. ความดันโลหิตสูงในคนอายุน้อย - YouTube
  3. ค่าความดันปกติแต่ละช่วงวัย ควรอยู่ที่เท่าไหร่ - prakan-4u
  4. ความดันในเด็ก
  5. ความดันโลหิตต่ำในเด็ก อันตรายหรือไม่? มีสาเหตุมาจากอะไร?
  6. ความดันในกะโหลกศีรษะสูง - GotoKnow

F: เฝ้าระวังภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงเนื่องจากศีรษะได้รับการบาดเจ็บ A: ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเป็น Severe Head injury with Intracerebral Hemorrhage Right frontal parietal with Multiple pneumocephalus with Multiple skull fracture both frontal parietal right CT scan พบ ICH Right frontal ขนาด 0. 7 cm Right parietal ขนาด 0. 5 cm -GCS E 2 V t M 4, pupil 3 mm. RTL BE Motor power แขน 2 ข้างเกรด 0 ขาทั้ง 2 ข้างเกรด 2 G: ไม่มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง เกณฑ์การประเมิน 1. ไม่แสดงอาการความดันในกะโหลกศีรษะสูง เช่น ปวดศีรษะ, ตามัว, อาเจียนพุ่ง มากกว่า 7 คะแนน 3. V/S อยู่ในเกณฑ์ปกติ ดังนี้ PR= 60-120 ครั้ง/นาที RR=18-20 ครั้ง/นาที BP> 90/60 mmHg. ค่า MAPอยู่ระหว่าง 30-50 mmHg Pressure > 60 mmHg. กิจกรรมการการพยาบาล 1. การประเมินอาการทางระบบประสาท ทุก 2 ชั่วโมง 2. การดูแลทางเดินหายใจและมีการระบายอาการที่ดี โดยการจัดท่าผู้ป่วยให้นอนศีรษะสูง 30 องศา หลีกเลี่ยงการจัดท่านอนหงายราบ นอนคร่ำ นอนหัวต่ำปลายเท้าสูง นอนงอตะโพกมากกว่า 90 องศา หรืองอข้อเข่า 3. ผู้ป่วยใส่ท่อหลอดลมช่วยหายใจ ดูดเสมหะตามความจำเป็น เช่น เมื่อได้ยินเสียงหายใจดังครืดคราดหรือเสียงวี๊ด ถ้า เพื่อป้องกันการอุดกั้นทางเดินหายใจจากเสมหะ และการดูดเสมหะแต่ละครั้งพยาบาลควร hyperventilate ด้วยออกซิเจน 100% ประมาณ 4-5 ครั้ง ก่อนและหลังการดูดเสมหะ และใช้เวลาในการดูดเสมหะแต่ละครั้งไม่นานเกิน 10-15 นาที ดูดเสมหะแต่ละครั้งด้วยความนุ่มนวล 4.

  • อา เซ โร ลา
  • 5 แพลตฟอร์มการชำระเงินออนไลน์ยอดนิยม | ข่าวอีคอมเมิร์ซ
  • การจำแนกประเภททำได้อย่างไร
  • แผนที่ คลินิกหมอมวลชน สาขา เชียงราย - แม่ฟ้าหลวง : ลองดู
  • Netflix ฝึก ภาษา อังกฤษ
  • Philips at 610 ราคา c
  • วงการแพทย์-วงการยา ข้อมูลสุขภาพ วิธีการดูแลตัวเอง โรคร้าย
  • หวย ปริศนา กอง สลาก
  • Handycam sony ราคา price
ในกรณีที่ผู้ป่วยใช้ PEEP ( Positive End Expiratory Pressure) ควรดูแลไม่ให้ความดันเกิน 5 – 10 ซม. น้ำ 5. ป้องกันการเกิด Vasalva maneuver ได้แก่ กิจกรรมต่างๆ ที่ทำให้ความดันในช่องอกหรือช่องท้องเพิ่มขึ้น 6. หลีกเลี่ยงการผูกยึดผู้ป่วยกับเตียงโดยไม่จำเป็น 7. ช่วยเหลือผู้ป่วยในการลุกนั่งหรือพลิกตะแคงตัว 8. หลีกเลี่ยงการเกิด isometric exercise เช่น การใช้ไม้ยันต้าน foot board สำหรับป้องกันปลายเท้าตกในขณะที่ผู้ป่วยมีอาการชักเกร็ง การออกแรงกดหรือกระตุ้นบริเวณอุ้งฝ่าเท้า หลีกเลี่ยงการกระตุ้นผู้ป่วยให้เกิดอาการเกร็ง และการให้ยาป้องกันชักเกร็งหรือให้ยาลดการเกิดภาวะหนาวสั่นตามแนวทางการรักษา 9. การลดสิ่งกระตุ้นที่มากเกินไป หรือไม่จำเป็น เช่น การเจาะเลือด การสัมผัสอย่างรุนแรงทันที ความเจ็บปวดจากการประเมินการตอบสนองทางระบบประสาท การทำของตกหล่น หรือล้ม การกระแทกเตียงผู้ป่วยแรงๆ เสียงดังจากการใช้เครื่องมือ เสียงพูดคุยกันของเจ้าหน้าที่ โดยจัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ สงบ ที่สุดเท่าที่จะทำได้ 10. สัมผัสตัวผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวล แผ่วเบา ไม่สัมผัสอย่างรุนแรงทันทีโดยที่ผู้ป่วยไม่รู้ตัว เพราะจะสะดุ้งตกใจได้ และควรแนะนำญาติของผู้ป่วยให้สัมผัสผู้ป่วยอย่างอ่อนโยนด้วย รวมทั้งควนหลีกเลี่ยงการสัมผัสที่รบกวนผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น โดยเฉพาะในรายที่มีอาการเกร็งได้ง่าย 11.

ค่าความดันปกติ ในการวัดค่าความดันโลหิตด้วย "เครื่องวัดความดัน" หลายๆ คนอาจจะเกิดคำถามที่ว่า "ระดับค่าความดันปกติ" ค่าความดันโลหิตมาตรฐาน ควรอยู่ที่เท่าไหร่?

ธรกจ-ราย-ได-เสรม